คำขวัญอำเภอสบปราบ
อุทยานดอยจง มั่นคงวัฒนธรรม งามล้ำน้ำตกแม่ไซงู เชิดชูบ่อน้ำทิพย์ อ่างนับสิบรอบเมือง ฟูเฟื่องเรื่องดินขาว พร่างพราวปลาหลากพันธุ์

ชื่อวิทยาศาสตร

  1.  Idioscopus clypealis (Lethierry),
  2.  I. niveosparsus (Lethierry)

รูปรางลักษณะและชีวประวัติ
เพลี้ยจักจั่นที่พบระบาดอยูมี 2 ชนิด ซึ่งทั้ง 2 ชนิดนี้ มีรูปรางคลายกันมาก ลําตัวมีสีเทาปนดํา หรือน้ําตาลปนเทา
สวนหัวโตและปาน ลําตัวเรียวแหลมมาทางดานหาง ทําใหเห็นสวนทองเรียวเล็ก มองดูดานบนเหมือนรูปลิ่ม ขนาด
ความยาวลําตัว 5.5 – 6.5 มม. และที่แผนตรงเหนือริมฝปากบนเปนสีดํา มักอยูรวมกันเปนกลุม แมลงชนิดนี้ใชขาหลัง
ดีดตัวกระโดดไปมา ทําใหไดยินเสียงชัดเจน ตัวออนมีลักษณะเหมือนตัวเต็มวัยทุกประการ
การเคลื่อนไหววองไวแตไมเทาตัวเต็มวัย ตัวออนนี้มักพบอยูเปนกลุมตามชอดอกและใบ โดยเฉพาะบริเวณโคน
ของกานชอดอกและกานใบ เนื่องจากบริเวณโคนจะมีเยื่อบาง ๆ สีน้ําตาลหุมไว เมื่อแดดรอนจัดจะหลบซอนอยู
ตามหลังใบเพลี้ยจักจั่นชอมะมวงเพศเมียจะวางไขเปนฟองเดี่ยว ๆ รูปรางยาวรีสีเหลืองออน จะวางไขตามแกนกลาง
ใบออนหรือกานชอดอก ปรากฏเปนแผลเล็ก ๆ คลายมีดกรีด หลังจากวางไขแลวประมาณ 1 – 2 วัน จะมียางสีขาว
ของมะมวงไหลหยดเห็นไดชัด ระยะฟกไข 7 – 10 วัน เมื่อออกเปนตัวออนจะดูดกินน้ําเลี้ยงจากชอดอกและใบ ตัว
ออนเจริญเติบโตโดยการลอกคราบ 4 ครั้ง จึงเปนตัวเต็มวัย ระยะตัวออน 17 – 19 วัน

ลักษณะการทําลาย
เพลี้ยจักจั่นที่พบระบาดมีอยู 2 ชนิด พบแพรระบาดทั่วไปในประเทศไทย ตัวออนและตัวเต็มวัย จะทําลายใบออน
ชอดอก กานดอก และยอดออน แตระยะที่ทําความเสียหายมากที่สุดคือ ระยะที่มะมวงกําลังออกดอก โดยจะดูดน้ํา
เลี้ยงจากชอดอกทําใหแหงและดอกรวง ติดผลนอยหรือไมติดเลย ระหวางที่เพลี้ยจักจั่นดูดกินน้ําเลี้ยง จะถายมูลมี
ลักษณะเปนน้ําเหนียว ๆ คลายน้ําหวานติดตามใบ ชอดอก ผล และรอบ ๆ ทรงพุม ทําใหมะมวงเปยกเยิ้ม ตอมาตาม
ใบ ชอดอก จะถูกปกคลุมโดยเชื้อราดํา ถาปกคลุมมากก็จะกระทบกระเทือนตอการสังเคราะหแสง ใบที่ถูกดูดน้ําเลี้ยง
ในระยะเพสลาด ใบจะบิดงอโคงลงดานใตใบ ตามขอบใบจะมีอาการปลายใบแหง แมลงชนิดนี้พบระบาดทั่วไปทุกแหง
ที่ปลูกมะมวง พบไดตลอดทั้งปแตปริมาณประชากรของเพลี้ยจักจั่นจะเพิ่มอยางรวดเร็วในชวงออกดอก คือระหวาง
ธันวาคม – มกราคม เมื่อมะมวงเริ่มแทงชอดอก จํานวนเพลี้ยจักจั่นจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วและสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนระยะ
ดอกตูม มีปริมาณสูงสุดเมื่อดอกใกลบาน และจะลดลงเมื่อมะมวงเริ่มติดผล ซึ่งจะไมพบบนผลเมื่อมะมวงมีขนาดเทา
นิ้วหัวแมมือ (1.5 – 2 ซม. หรือชวง 40 วัน)

ศัตรูธรรมชาติ
ตัวห้ํา : มวนตาโต Geocoris sp.
ตัวเบียน : ผีเสื้อตัวเบียน Epipyropid (Epipyrous fuliginosatams) แมลงวันตาโต Pipunculid แตนเบียน
Aphelined
เชื้อโรค : เชื้อราขาว Beauveria bassiana, เชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae,เชื้อราหนวดปลาหมึก
Hirsutella sp

การปองกันกําจัด

  1. ถาหากเจาของสวนมะมวงไมปองกันกําจัดแลว มะมวงจะไมติดผลเลย จึงควรพนดวยสารฆาแมลง carbaryl
    (เซฟวิน 85% WP) อัตรา 60 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร ในระยะกอนมะมวงออกดอก 1 ครั้ง และเมื่อเริ่มแทงชอดอก 1 ครั้ง
    เมื่อชอดอกบานแลวไมควรพนสารฆาแมลง เพราะอาจเปนอันตรายตอแมลงผสมเกสร และหมั่นตรวจดูตามชอดอก
    อยูเรื่อย ๆ ถาพบตัวออนและตัวเต็มวัยในจํานวนมากกวา 5 ตัวตอชอ ควรพนอีก 1 – 2 ครั้ง ในระยะดอกตูม และ
    กอน ดอกบาน ถาหากมะมวงติดผลขนาดหัวแมมือ การพนสารฆาแมลงไมมีความจําเปน
  2. ในสวนที่มีการระบาดรุนแรงควรเปลี่ยนไปพนดวยสารไพรีทรอยดสังเคราะห คือ permethrin (แอมบุช 10 %
    EC) 10 มล.ตอน้ํา 20 ลิตร Lamda-cyhalothrin L (คาราเต 2.5 %EC.) 7 มล. ตอน้ํา 20 ลิตร Cyfluthrin (ไบ
    ทรอยด 10% EC.) 4 มล. ตอน้ํา 20 ลิตร Deltamethrin (เดซิส 2.5% EC.) 10 มล. ตอน้ํา 20 ลิตร และ
    Cypermethrin (ริพคอรด 10% EC.) 10 มล.ตอน้ํา 20 ลิตร
  3. ในระยะที่ดอกมะมวงกําลังบาน การพนน้ําเปลาในตอนเชาจะชวยใหการติดมะมวงดีขึ้น แตควรปรับหัวฉีดอยา
    ใหกระแทกดอกมะมวงแรงเกินไป
  4.  การพนสารฆาแมลงใหมีประสิทธิภาพควรพนใหทั่วถึงทั้งลําตน มิเชนนั้นตัวเต็มวัยจะเคลื่อนยายหลบซอนไปยัง
    บริเวณที่พนสารฆาแมลงไมถึง นอกจากนี้ยังตองคํานึงถึงการปรับละอองฝอยหัวฉีด ระยะเวลาการพน
  5. การตัดแตงกิ่งภายหลังเก็บผลผลิตเปนวิธีที่ตองกระทําอยางยิ่ง เพราะจะชวยลดที่หลบซอนของเพลี้ยจักจั่นลง
    และทําใหการพนสารฆาแมลงมีประสิทธิภาพดีขึ้น

วราภรณ ทับไกร รายงาน

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *